การประยุกต์ใช้ Simulation สำหรับการจัดการเรียนการสอนทางคลินิก

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การประยุกต์ใช้ Simulation สำหรับการจัดการเรียนการสอนทางคลินิก(Clinical Application in Simulation Education) วันที่ 21 – 23 พฤศจิกายน 2565ลงทะเบียน  วิทยากร : 1.คณาจารย์จากชมรมการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์จำลองทางการแพทย์แห่งประเทศไทย (Thai Society for Simulation in healthcare) 1.1 ผศ.นพ.อินทนนท์ อิ่มสุวรรณ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์1.2 พ.ท.ปณิธาน กวางวโรภาส วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า2.คณาจารย์จากคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์2.1. อ.นพ.ปัณณวิชญ์ เบญจวลีย์มาศ2.2 ผศ.พญ.งามจิตร์ ภัทรวิทย์2.3 ผศ.พญ.อาอัยซะห์ ดาเด๊ะผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. มีความรู้พื้นฐานทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการ2.สามารถพัฒนาแผนการสอนด้วยสถานการณ์จำลองทางการแพทย์3.สามารถบริหารจัดการทรัพยากรที่ใช้กระบวนการสอนด้วยสถานการณ์จำลองได้อย่างเหมาะสม4.สามารถกระตุ้นการเรียนรู้ สะท้อนกลับผู้เรียน และสามารถประเมินผู้เรียนได้อย่างเหมาะสม6.ทราบและเลือกใช้วิธีประเมินผลที่เหมาะสมกับการสอนด้วยสถานการณ์จำลอง7.นำความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้มาปรับใช้ให้เข้ากับบริบทขององค์กรที่ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อัตราค่าลงทะเบียน: บุคคลภายนอก 15,000 บาท : บุคลากรภายใน ไม่มีค่าลงทะเบียน เงื่อนไขการชำระเงิน : กรุณาชำระเงินภายในวันที่...

Continue reading

โครงการฝึกอบรม เรียนรู้การช่วยชีวิตเบื้องต้น CPR สำหรับเจ้าหน้าที่ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ รุ่น 1

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร  มีความรู้ความเข้าใจ และสามารถประเมินผู้บาดเจ็บที่ต้องทำ CPR และใช้เครื่อง AED ได้อย่างถูกวิธี สามารถทำการ CPR และใช้ AED ผู้บาดเจ็บได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย สามารถขอความช่วยเหลือจากระบบบริการฉุกเฉินทางการแพทย์ และส่งต่อผู้บาดเจ็บได้ หัวข้อการอบรม เป็นหลักสูตรสำหรับประชาชนหรือกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ได้แก่ ประชาชนทั่วไป พนักงานภาครัฐและเอกชน นักเรียน นักศึกษา ฯลฯ  ได้มีความรู้ และสามารถให้การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บที่ประสบอุบัติเหตุต่างๆ ที่หมดสติ ไม่หายใจ ให้ปลอดภัยในระดับหนึ่ง ก่อนส่งไปรับการรักษาต่อในโรงพยาบาล

Continue reading

โครงการ “เรียนรู้การช่วยเหลือเบื้องต้น (CPR)” เบื้องต้น รุ่นที่ 2

โครงการ “เรียนรู้การช่วยเหลือเบื้องต้น (CPR)” เบื้องต้น รุ่นที่ 2 วันที่ 26 มกราคม 2561 เวลา 13.00 น – 16.00 น ณ ศูนย์ฝึกทักษะทางคลีนิกฯ อาคารแพทยศาสตร์ศึกษาราชนครินทร์ ชั้น 6 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ การช่วยเหลือผู้ที่หยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้น ให้มีการหายใจและการไหลเวียนกลับคืนสู่สภาพเดิม ป้องกันเนื้อเยื่อได้รับอันตรายจากการขาดออกซิเจนอย่างถาวร ซึ่งสามารถทำได้โดยการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (Basic life support) ได้แก่ การผายปอด และการนวดหัวใจภายนอก ผู้ที่มีภาวะหยุดหายใจ โดยที่หัวใจยังคงเต้นอยู่ประมาณ 2-3 นาที ให้ผายปอดทันที จะช่วยป้องกันภาวะหัวใจหยุดเต้นได้ และช่วยป้องกันการเกิดภาวะเนื้อเยื่อสมองขาดออกซิเจนอย่างถาวร ผู้ที่มีภาวะหยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้นพร้อมกัน ซึ่งเรียกว่า clinical death การช่วยฟื้นคืนชีพทันทีจะช่วยป้องกันการเกิด biological death คือ เนื้อเยื่อโดยเฉพาะเนื้อเยื่อสมองขาดออกซิเจน ระยะเวลาของการเกิด...

Continue reading